omnia

History of Chocolate







Christopher Columbus is believed to be the first European to discover chocolate. When Columbus returned to Spain in 1502 from his fourth voyage to the New World, he introduced many treasures to the court of King Ferdinand. Among them were cocoa beans, almond-shaped seeds from the cacao tree that are the source of all the chocolate and cocoa products we enjoy today.

A few decades later, during his conquest of Mexico, the Spanish explorer, Hernando Cortez, found Aztec Indians using cocoa beans to prepare a drink called "chocolatl", meaning "warm liquid". The Aztec Emperor Montezuma, who reportedly drank 50 or more portions daily, served guests this royal drink in ceremonial golden goblets, treating it like a nectar for the gods.

In fact, the cacao tree's botanical name, Theobroma cacao, pays homage to its mythical origins. Translated from the Greek, "theobroma" means "food of the gods". The Aztecs held that prophets had brought cocoa beans to their lands. Thus, the beans were a valued commodity, not only for use as a kingly drink but also as a medium of exchange. Four cocoa beans was the price of a turkey, for example.

Cortez, who described chocolatl as "the divine drink ... which builds up resistance and fights fatigue", and his countrymen, conceived the idea of sweetening the bitter drink with cane sugar. The recipe for the sweetened frothy beverage underwent several more changes in Spain, where newly discovered spices such as cinnamon and vanilla were added as flavorings.

Spain wisely began to plant cacao trees in its overseas possessions, but consigned the processing of cocoa beans to monasteries under a veil of secrecy. They kept the recipe to themselves for nearly 100 years, but the secret was finally leaked to the rest of Europe. As first, chocolate was restricted to the nobility. In fact, the Spanish Princess Maria Theresa presented cocoa beans as an engagement gift to Louis XIV, and soon chocolate was the rage of the fashionable Court of France. The famous historic figures Casanova and Madame DuBarry both believed that chocolate was conducive to romance. So popular did chocolate become that in 1657 the first of many English "chocolate houses" was established, to serve the drink to the general public.

Chocolate drinking arrived in the American colonies in 1765, when the first chocolate factory opened in New England. Even Thomas Jefferson extolled chocolate's virtues, describing "...the superiority of chocolate for both health and nourishment".

Mass production of chocolate began when the steam engine, invented by James Watt in 1770, mechanized the cocoa bean grinding process, thereby replacing the time-consuming hand method of manufacture. The invention of the cocoa press in 1828 by C.J. Van Houten did much to improve the quality of the beverage by squeezing out part of the cocoa butter, the fat that occurs naturally in cocoa beans.

In the middle of the 19th century, two significant developments revolutionized the chocolate industry. In 1847, an English company introduced solid "eating" chocolate. Now the public could enjoy chocolate eaten out of the hand as well as in the form of a drink. Three decades later, at Vevey, Switzerland, Daniel Peter found that milk could be added to chocolate to make a new product, appropriately named milk chocolate.

Since that time, chocolate has been manufactured in solid bar form and to enrobe confections, as well as an ingredient in baked goods, ice cream, and flavored milk. The value of chocolate as a portable food for both energy and morale has long been recognized. From the Civil War on, chocolate has been carried into the field by soldiers.




ชุมนุม Singer team"




S i n g e r t e a m !!!



{ s a t r i w i t III }






ร้อง เล่น เต้น เฮฮา





คุณธรรม จริยธรรม ในการใช้สารสนเทศ

แนวโน้มทำให้เกิดประเด็นด้านจริยธรรม คือ เช่นใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่นให้เกิดความเสียหายหรือก่อความรำราญ การนำภาพหรือข้อมูลส่วนตัวของบุคคลไปลงบนอินเตอร์เน็ตโดยไม่ได้รับอนุญาต การใช้คอมพิวเตอร์ในการขโมยข้อมูล การเข้าถึงข้อมูลหรือคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต การละเมิดลิขสิทธิ์



จริยธรรมในสังคม

1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น

2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น

3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น

4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย

5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ

6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์

7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่

8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน

9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน

10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพ

11. ทำประโยชน์ให้สังคมและความผาสุกของมนุษย์

12. ให้เกียรติสิทธิในทรัพย์สิน

13. ให้เกียรติแก่ทรัพย์สินทางปัญญา

14. เคารพความเป็นส่วนตัวของผู้อื่น

15. รู้ตัวว่ากำลังกล่าวอะไร

16. คิดก่อนเขียน

17. อย่าใช้อารมณ์

18. ไม่ส่งต่อจดหมายลูกโซ่ หรือเมล์ขยะ

19. ให้ความระมัดระวังกับคำเสียดสี และอารมณ์ขัน

20. อ่านข้อความในอีเมล์ ให้ละเอียดก่อนส่ง ความประณีตและตัวสะกด การันต์ เป็นสิ่งที่ควรคำนึงถึง

21. ดูรายชื่อผู้รับให้ดีว่า เขาคือคนที่เราตั้งใจจะส่งไปถึง

22. ไม่ส่งข่าวสารที่กล่าวร้าย หลอกลวง หยาบคาย ข่มขู่



สิทธิ

1.มีสิทธิ์ในเขียน หรือแสดงความคิดเห็นใด ๆ ต้องไม่หมิ่นเหม่ หรือกระทบต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ หรือกระทบต่อความมั่นคงของชาติ แต่ไม่ใช้ถ้อยคำหยาบคาย ดูหมิ่น ส่อเสียด ให้ร้ายผู้อื่นในทางเสียหาย หรือสร้างความแตกแยกในสังคม กับทั้งไม่มีภาพ วิดีโอคลิป หรือถ้อยคำลามก อนาจาร

2.อ่าน ฟัง คิด ได้ตามใจ




วิธีการปฏิบัติทางด้านทรัพย์สินทางปัญญา

ทรัพย์สิน ทางปัญญา เป็นสิทธิทางกฎหมายที่มีอยู่เหนือสิ่งที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์ทางปัญญา ของมนุษย์ โดยอาจแบ่งทรัพย์สินทางปัญญาออกได้หลายประเภท คือ ทรัพย์สินทางอตสาหกรรม ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร ความลับทางการค้า เครื่องหมายการค้า

สิทธิบัตรซอฟต์แวร์จะปกป้องผู้เขียนจากการคัดลอกและอ้างสิทธิในการเขียนซอฟต์แวร์ แต่สิทธิบัตรไม่ได้เกิดขึ้นอัตโนมัติ ผู้เขียนจะต้องร้องขอสิทธิบัตรในแต่ละประเทศหรือภูมิภาค (เช่น สำนักงานสิทธิบัตรแห่งยุโรป) เอง โดยที่ในสิทธิบัตรนี้จะต้องเปิดเผยวิธีการที่จะสร้างและใช้ซอฟต์แวร์ในระดับ ที่เพียงพอในระดับที่ผู้อื่นที่มีความสามารถในการเขียนโปรแกรมนั้นสามารถจะ นำไปเขียนใหม่ได้โดยไม่ต้องทดลองใหม่ และใช้ซอฟต์แวร์ถ้าหากการใช้นั้นไม่ได้เป็นไปแบบชัดแจ้ง

ขณะที่ ลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์นั้นคุ้มครองทันทีโดยผู้เขียนไม่ต้องร้องขอเพื่อป้องกันการคัดลอกรหัสต้นฉบับ


จิตสำนึกในการใช้สารสนเทศ

1.ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์

2.ไม่รบกวนคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น เช่น การปล่อยไวรัส หรือ ขโมยข้อมูลของผู้อื่น




ทำยังไงเมื่อคอมติดไวรัส

1. ทางธัมไดร์ แนะนำให้ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัส Autorun คือ CPE17AntiAutorun

2. ทางอินเตอร์เน็ตแนะนำให้ใช้ firefox เปิดเว็บ แทน Internet Explorer